Professional and
Distinguished Instructors
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ
ASST. PROF. PIMPAPORN BOONPRASERT, PH.D.
วิทยากรด้านการพัฒนาบุคลิกภาพและทักษะการสื่อสาร การสื่อสารเพื่อบริหารความสัมพันธ์ การพูดเพื่ออาชีพการประชาสัมพันธ์ พิธีกร ผู้ประกาศ การพูดในที่ชุมชน วาทะศิลป์สำหรับผู้นำ วาทการบำบัด การพูดจูงใจ การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม เทคนิคการสรุปความ การเขียนหนังสือสือราชการ การเขียนเพื่อการติดต่อสื่อสาร
ผศ.ดร.พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- วิทยากร ที่ปรึกษาด้านการสื่อสาร
- วิทยากรสถาบันพัฒนาบุคลิกภาพ John Robert Powers Thailand
- บรรณาธิการวารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษศาสตรและสังคมศาสตร์) TCI กลุ่ม 1
ประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมา
- ผ่านการทดสอบผู้ประกาศ จากกรมประชาสัมพันธ์
- กรรมการและเลขานุการรองคณบดีฝ่ายแผนและพัฒนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- กรรมการและเลขานุการรองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- กองบรรณาธิการ จัดทำคู่มือเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ของ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
(กสทช.)
- พิธีกร รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา วิชาไทยศึกษา และรายการสายธารธรรม ทาง ETV
- ผู้เชี่ยวชาญสอนภาษาไทย ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ กรุงฮานอย
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
- ผู้ประกาศข่าวภาคภาษาไทย สถานีวิทยุเวียดนาม ณ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
- ผู้ดำเนินรายการมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพื่อการศึกษา
- วิทยากรและอาจารย์พิเศษในสถาบันการศึกษา ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยาลัยราชสุดา
มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้า มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นต้น
การศึกษา
- ปริญญาเอก : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2555)
- ปริญญาโท : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2544)
- ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย วิชาโทวาทการ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2539)
เกียรติประวัติ
- 2546 : ข้าราชการพลเรือนดีเด่นประจำปี 2546
(กระทรวงศึกษาธิการ)
- 2560 : ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น จาก
คณะมนุษยศาสตร์
- รางวัลอาจารย์ที่มีผลงานวิชาการและวิจัยสูงสุดอันดับ 1 ระหว่างปี 2551 - 2553 (ประเภทงานวิจัยเดี่ยว) เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบ 36 ปี
- การตีพิมพ์เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและวารสารระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบ 37 ปี
- อาจารย์ที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของ สมศ. ประจำ ปี 2555 เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบ 38 ปี
- การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์แก่สังคม จำนวน 5 รางวัล เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์ ครบรอบ 39 ปี
หนังสือและงานเขียน
- คู่มือเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
- สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง
- พูดอย่างมั่นใจในแบบที่คุณเป็น
- การพูดเพื่อเป็นพิธีกร
- วาทการเบื้องต้น
- การพูดเฉพาะกิจ 2
- การเขียนในชีวิตประจำวัน
- วาทการ ศาสตร์และศิลป์แห่งการพูดเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร
- พูดอย่างมืออาชีพ
ผลงานวิชาการที่เผยแพร่ในระดับชาติ
- กองบรรณาธิการ. (2560). คู่มือเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สาวิกาการพิมพ์
- พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐริ. (2542). ธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัย. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 6. 36 - 42.
- _______. (2542). แปลก พิบูลสงคราม,จอมพล. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 8. 46 - 50.
- _______. (2542). ภูษามาลา. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 10. 54 - 56.
- _______. (2542). รามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 12. 61 - 65.
- _______. (2542). แรงงานและสวัสดิการสังคม, กระทรวง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 12. 66 - 70.
- _______. (2542). สด กูรมะโรหิต, นาย. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 13. 74 - 77.
- _______. (2542). สุธนูคำฉันท์. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 14. 81 - 84.
- _______. (2548). พูดอย่างมั่นใจในแบบที่คุณเป็น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินริทรวิโรฒ.
- _______. (2548). การพูดเพื่อเป็นพิธีกร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2548). วาทการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2550). การพูดเฉพาะกิจ 2. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2550). การเขียนในชีวิตประจำวัน. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์ อจท.จำกัด.
- _______. (2558).วาทการ ศาสตร์และศิลป์แห่งการพูดเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ไอยรา.
- _______. (2560). พูดอย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.
บทความวิจัย
- ชาสินี สำราญอินทร์ พิมพิาภรณ์ บุญประเสริฐ และชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย. กลวิธีการใช้ภาษาเสียดสีในรายการเจาะข่าวตื้น. บทความวิจัยฉบับบเต็ม การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 16 พ.ค. 2557 หน้า 190 - 204.
- นภาลัย โลกวิทย์ และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. การบูรณาการความรู้ทางภาษาและวัฒนธรรมไทยสำหรับชาวต่างชาติ : คำพ้องจากเพลงรำวงมาตรฐาน. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ, สาขามนุษยศาสตและสังคมศาสตร์. 31 ม.ค. - 3 ก.พ.
2560. หน้า 25 - 32.
- บุษรา อวนศรี และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. แบบเรียนภาษาไทยเพื่อการสัมภาษณ์งานเบื้องต้นสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ 2557;
15(30): 107 - 118.
- เป็นปลื้ม เชยชม และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับนิสิตปริญญาตรี สาขาภาษาไทย. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอรียุธยา ครั้งที่ 7. "วิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่ รับใช้สังคม" ;2559 กรกฎาคม 7 - 8; สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอรียุธยา: 126 - 131.
- พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐริ. (2548). ประสบการณ์การสอนชาวต่างประเทศพูดภาษาไทย : แก้ไขข้อบกพร่อง. ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
-
_______. (2554). วาทกรรมชาตินิยมของรัฐบาลไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 - 2550. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
- _______. (2553). อัตลักษณ์การเลี้ยงดูเด็กของไทย: มโนทัศน์เรื่องมารยาททางวาจา. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมษายน
2553. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
- _______. (2553). งานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาสาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ กุมภาพันธ์ 2553. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.
- _______. (2545, ภาคเรียนที่ 1). การพูด : แนวทางการวิจารณ์. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 24: 55 - 60.
- _______. (2546, มกราคม-มิถุนายน). กลวิธีการพูดอ้อม : ปัญหาบางประการในการสื่อสารระหว่างบุคคล. สหภาษา. 1(3): 17 - 21.
- _______. (2547, ภาคเรียนที่ 2). การใช้ลีลา "เล่าเรื่อรื่งฎ ในการพูดต่อหน้าชุมชน. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 26: 93 - 103.
- _______. (2550 - 2551, ธันวาคม - พฤษภาคม). คำที่แสดงความสุภาพในภาษาไทย : นัยเรื่องเพศ สภาพและการแสดงอำนาจ. ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย. 1(2): 106 - 116.
- _______. (2550, ภาคเรียนที่ 2). พิธีกรหญิงในรายการบันเทิงทางโทรทัศน์ : บุคลิกภาพและบทบาท. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 29: 47 - 76.
- _______. สถานภาพงานวิจัยด้านการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2559;
กรกฎาคม-ธันวาคม 12(2): 207 - 222.
- พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ และอุดม วโรฒม์สิกขดิตถ์. การสร้างวาทกรรม "เด็กดีต้องรักชาติ" ในคำขวัญวันเด็กของรัฐบาลไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ 2555; มกราคม-มิถุนายน 34(1): 27 - 40.
- พัชรา สุขาว, พรธาดา สุวัธนวนิช และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. กลวิธีการประพันธ์ในงานเขียนบทสัมภาษณ์ของวรพจน์ พันธุ์พงศ์. วารสารบรรณศาสตร์ มศว 2556;
กรกฎาคม-ธันวาคม 6(2): 77 - 92.
- วิมล งามยิ่งยวด พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ และชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย. กลวิธีการรักษาหน้าในการตอบคำถามจากรายการวู้ดดี้เกิดมาคุย. บทความวิจัย ฉบับเต็มการประชุมหาดใหญ่
วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 16 พ.ค. 2557 หน้า 216 - 231.
- สิตานันท์ ศรีวรรธนะ และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. การศึกษาลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์. บทความวิจัย ฉบับเต็มการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 6 วันอาทิตย์ ที่ 8 กันยายน 2556 บัณฑิตวิทวิยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม. กรุงเทพฯ : ร้านเค พี จันทรเกษม. หน้า 247 - 255.
- สุณัฏฐา อารย์โพธิ์ทอง พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐร และชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย. การใช้จุดจูงใจในโฆษณาการท่องเที่ยวและบริการของนิตยสารการท่องเที่ยว. บทความวิจัยฉบับเต็มการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งรั้ที่ 5 16 พ.ค. 2557 หน้า 442 - 454.
- อภิวัฒน์ พงษ์มาลี และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. ความหมายที่สื่อผ่านการตั้งชื่อโครงการอาคารชุดในโฆษณาอาคารชุดผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ตีพิมพ์ Proceedings
การประชุมวิชาการระดับชาติ "ภาษา วรรณคดีไทย และการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : การเรียนรู้และสร้างสรรค์จากสังคมไทยสู่สังคมโลก” ครั้งที่ 2
25 - 26 มิถุนายน 2558 หน้า 71 - 80.
- Aphiwat Pongmalee,Pimpaporn Boonprasert. Lifestyle Reflection on Language and Idea in Condominium Advertising via Printed
Media. งานวิจัยภาษาและวัฒนธรรมไทยญี่ปุ่น สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมไทยญี่ปุ่น 2558; กรกฎาคม (7) : 243 - 258.
- GUANGYI WU,Pimpaporn Boonprasert. Determining the Basic Vocabulary for Traveling in Thailand Guide Books. งานวิจัยภาษาและวัฒนธรรมไทยญี่ปุ่น สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมไทยญี่ปุ่น 2561; มีนาคม (5) : 172 - 186.
- Pimpaporn Boonprasert. Rhetoric Talent in Thai Literary of Southeast Asian Writers Award. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 2556; 7(1):87 - 100.
งานวิจัย
- พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. (2544). โลกทัศน์จากวรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง แนวทางการศึกษาวิเคราะห์โลกทัศน์จากวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2548). รายงานการวิจัยเรื่อง พิธีกรหญิงในรายการบันเทิงทางโทรทัศน์: บุคลิกภาพและบทบาท. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านการสื่อสารเชิงจริยธรรมจากการบูรณาการความรู้ ด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร จริยศาสตร์ตะวันตก และพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง วิเคราะห์องค์ความรู้ด้านการสื่อสารเชิงจริยธรรม จากองค์ความรู้ด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2552). งานวิจัยด้านภาษาและวรรณกรรมไทยของนิสิตระดับบัณบัฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 - 2550. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2552). การสร้างเอกลักษณ์และภาพลักษณ์ ของ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์มร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2554). การพัฒนาโปรแกรมการปรับปรุงการพูดต่อหน้าสาธารณชนสำหรับนิสิต หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยใช้เทคนิคการละคร. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2555). ลักษณะความเป็นเลิศทางด้านวรรณศิลป์ในวรรณกรรมไทย รางวัลสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2558). สถานภาพงานวิจัยและแนวโน้มงานวิจัยด้านการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศของ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ:
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- _______. (2562). รูปแบบการสอนทักษะการสื่อสารภาษาไทยโดยใช้กิจกรรมคัดสรรสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- พิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ, ศานติ ภักดีคำ. (2552). รายงานการวิจัยเรื่อง ภูมิปัญญาในวรรณกรรมของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- ธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์, มนัส บุญประกอบ, รัตนาพร สงวนประสาทพร และพิมพาภรณ์ บุญประเสริฐ. (2550).รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการอ่านของนักเรียนในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
หลักสูตรที่ได้อบรมให้กับภาครัฐและเอกชน
- Presentation Communication at Work
- ทักษะสื่อสารเพื่อบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
(CRM)
- การอ่านคนจากภาษาท่าทาง
- วลีพิฆาตและการรับมือกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
- บุคลิกภาพและการสื่อสาร
- Generation gap กับการสื่อสารในองค์กร
- พัฒนาทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล
- การพูดเพื่ออาชีพ
- การประชาสัมพันธ์
- ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
- วาทศิลป์สำหรับผู้นำ
- ภาษาและวัฒนธรรมสำหรับชาวต่างประเทศ
- มารยาทและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมสำหรับล่าม
- การพัฒนาทีม
- การสื่อสารเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
- วาทการบำบัด
- การแก้ไขข้อบกพร่องในการออกเสียง
- เทคนิคการสอนการอ่าน
- Thai
for Communication สำหรับชาวต่างประเทศ
- สอนภาษาไทยอย่างไรให้สนุก
- พัฒนาการสื่อสารด้วย
Growth Mindset
- การพูดจูงใจ
- เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารในงานบริการ
- Coaching
Mentoring ศิลปะในการให้ Feedback
- Leader-ship Selftalk
- ศิลปะการพูดกับผู้ใหญ่
- Train
the Trainer
- เทคนิคการสรุปความ
- การฟัง การสะท้อนกลับและการตั้งคำถาม
- การเขียนหนังสือราชการ
- การบันทึกการประชุม
- การเขียนเพื่อการติดต่อสื่อสาร
- Non - Voice Communication
- ฯลฯ
หน่วยงาน/องค์กรที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากร/พัฒนาหลักสูตร/ที่ปรึกษา
- โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
- สำนักงานพัฒนาความร่วมมือเพื่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
- กระทรวงคมนาคม
- กระทรวงท่องเที่ยวและการกีฬา
- กระทรวงอุตสาหกรรม
- สำนักงานศาลปกครอง
- กรมทางหลวง
- กรมบัญชีกลาง
- กรมสรรพากร
- กรมธนารักษ์
- ป.ป.ส.
- บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- สำนักงานอัยการสูงสุด
- สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร
- กลุ่มบริษัทสหวิริยา
- ธนาคารกสิกรไทย
- ธนาคารกรุงเทพ
- ธนาคารทหารไทยธนชาต
- ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
- ธนาคารออมสิน
- การกีฬาแห่งประเทศไทย
- กรมทางหลวงชนบท
- สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
- TOYOTA
- ISUZU
- สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
- องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
- MBK
- โครงการ Smart Lady Thailand
- Miss Universe Thailand 2014 - 2015
- สำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์กรมหาชน)
- การไฟฟ้านครหลวง
- การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- การประปานครหลวง
- สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- King Power
- CHANINTR
- SB Furniture
- บริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด
- สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
- กระทรวงกลาโหม
- สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
- บริษัทอิตาเลียนไทย
- กรมการท่องเที่ยว
- AirAsia
- ดอยคำ
- กรมประชาสัมพันธ์
- บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน)
- Chanel
- Dior
- ThaiBev
- เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จํากัด
- BAFS
- ฯลฯ